การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
1.การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production) ราชบดินทร์ สุวรรณคัณฑิ นักวิชาการ ฝ่ายสื่อวิทยาศาสตร์ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2.วัตถุประสงค์ของการบรรยาย • เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต สื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล • เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจความรู้พื้นฐานของสื่อ และการเตรียมสื่อ ที่ จะเป็นวัตถุดิบในการผลิตวิดีโอ
3.หัวข้อการบรรยาย / ปฏิบัติ • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผลิตสื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล • การตัดต่อวิดีโอในระบบดิจิทัลเบื้องต้น
4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การผลิตสื่อวิดีโอดิจิทัล
5.ชนิดของสื่อวิดีโอ 1. สื่อวิดีโอในระบบแอนาล็อก (Analog Video) 2. สื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล (Digital Video)
6.สื่อวิดีโอในระบบแอนาล็อก สื่อวิดีโอในระบบแอนาล็อก เป็น สื่อวีดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพ และเสียงให้อยู่ในรูป ของสัญญาณแอนาล็อก (รูปของคลื่น) สาหรับวีดีโอประเภทนี้ เช่น VHS (Video Home System) ซึ่งเป็นม้วนเทปวีดีโอที่ใช้ดูกันตามบ้าน เมื่อทาการตัดต่อข้อมูลของวีดีโอชนิดนี้ อาจจะทาให้คุณภาพลดน้อยลง
7.สื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล สื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล (Digital video) หมายถึง ข้อมูลวิดีโอที่ประกอบด้วยภาพและเสียง ที่ถูกบันทึกในระบบดิจิทัล หรือข้อมูลที่ผ่านกระบวนการในการผลิตในระบบดิจิทัล โดย อาศัยระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่การนาสัญญาณวิดีโอจากกล้องวิดีโอเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือการแปลงข้อมูลวิดีโอให้อยู่ในรูปดิจิทัล (Video capturing), การตัดต่อ หรือแก้ไขข้อมูลวิดีโอ (Video editing) และการนาข้อมูลออกจากระบบคอมพิวเตอร์ไปอยู่ ในรูปแบบที่ต้องการ (Video exporting) เช่น Video CD, DVD, Streaming VDO
8.ข้อดีของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก • วิดีโอระบบแอนาล็อก เป็นระบบที่ใช้มานาน ทาให้อุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนการ ต่อเชื่อม และแสดงผลจากกล้องวิดีโอ หรือเครื่องเล่นวิดีโอระบบแอนาล็อกเป็น พื้นฐาน • ราคาของสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และสายสัญญาณที่ใช้ในการต่อเชื่อมมีราคา ถูก สามารถหาได้ง่าย
9. ข้อเสียของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก • สัญญาณถูกรบกวนได้ง่ายเนื่องจากใช้สัญญาณไฟฟ้าในการบันทึกข้อมูล ดังนั้นเมื่อมีการ ทาซ้าของข้อมูลหลายๆ ครั้ง คุณภาพของภาพและเสียงจะลดลง นอกจากนั้นการส่งข้อมูล ไปยังปลายทางที่อยู่ห่างกัน สัญญาณวิดีโออาจจะถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็ก ทาให้ คุณภาพของภาพและเสียงลดลงจากต้นฉบับ • การเก็บบันทึกข้อมูลใช้ม้วนเทปที่มีขนาดใหญ่ ทาให้กล้องถ่ายวิดีโอในระบบแอนาล็อกมี ขนาดใหญ่ตามไปด้วย
10.ข้อดีของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล • คุณภาพของภาพและเสียงจะดีกว่าระบบการผลิตสื่อวิดีโอในระบบแแอนาล็อก ตัวอย่างเช่น ในกล้อง วิดีโอระบบดิจิทัลจะให้ภาพที่ความละเอียดอย่างต่า 500 เส้น ในขณะที่กล้องวิดีโอระบบ VHS จะให้ ภาพที่ความละเอียดประมาณ 250 เส้น • ไม่มีการสูญเสียของสัญญาณเมื่อทาการทาซ้าสื่อวิดีโอหลายครั้ง • อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับวิดีโอในระบบดิจิทัลมีการออกแบบที่ดีขึ้นในทางวิศวกรรม เช่น กล้องวิดีโอในระบบ ดิจิทัลจะมีขนาดเล็ก แต่มีประสิทธิภาพที่สูงกว่ากล้องวิดีโอในระบบแแอนาล็อก • ระบบดิจิทัลทาให้เกิดความง่าย ได้แก่ ง่ายต่อการจัดเก็บ, ง่ายต่อการตัดต่อ, ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล, ง่ายต่อการแปลงสัญญาณเป็นรูปแบบต่างๆ และง่ายต่อการปรับเปลี่ยนแก้ไข
11.ข้อเสียของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล • ต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการผลิตสื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล มีฮาร์ดดิสก์ที่ใหญ่ มีความเร็วสูง, มีโปรเซสเซอร์และระบบบัสความเร็วสูง มีหน่วยความจา (RAM) จานวนมาก • ถ้าคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพไม่สูงเพียงพอ อาจจะต้องใช้เวลาในการผลิตสื่อมากกว่าการผลิต สื่อในระบบแอนาล็อก • ต้องใช้งบประมาณในการซื้ออุปกรณ์สาหรับการผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลค่อนข้างสูง ถ้า ต้องการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
12.รูปแบบการใช้งานสื่อวิดีโอ สื่อวีดีโอ สามารถถูกนาไปใช้งานได้ในหลาย ๆ ลักษณะ หรือหลายๆ วัตถุประสงค์ เช่น – บันเทิง – นาเสนองาน – ประชาสัมพันธ์ – การศึกษา
13.ต้องใช้อะไรบ้างในการผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล? ในการผลิตสื่อวิดีโอในระบบดิจิทัลนั้นจะต้องใช้อุปกรณ์ดังต่อไปนี้ – กล้องถ่ายวิดีโอระบบดิจิทัล และอุปกรณ์ประกอบ เช่น ไมโครโฟน, ขาตั้งกล้อง, ไฟส่องสว่าง – คอมพิวเตอร์สาหรับใช้ในการนาสัญญาณวิดีโอจากกล้องถ่ายวิดีโอ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน การตัดต่อ ก่อนที่จะนาสัญญาณออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น ในรูปของม้วนวิดีโอทั้งในระบบดิจิทัล และแอนาล็อก, ในรูปของ VCD หรือในรูปของ DVD เป็นต้น – ซอฟต์แวร์สาหรับใช้ในการนาสัญญาณวิดีโอเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ และใช้ในการตัดต่อ เช่น Adobe Premiere, Windows Movie Maker
14.ขั้นตอนการผลิตสื่อวิดีโอ การผลิตสื่อวิดีโอประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ • ขั้นตอนการเตรียมงานก่อนการผลิต (Pre-Production) คือ ขั้นตอนในการกาหนดขอบเขตเนื้อหา วัตถุประสงค์ งบประมาณ สถานที่ถ่ายทา ตัวละคร และโครงร่างเนื้อหา (Storyboard) • ขั้นตอนการผลิตหรือถ่ายทา (Production) คือ ขั้นตอนในการถ่ายทาหรือจัดเตรียมวิดีโอ ภาพนิ่ง เสียงบรรยาย เสียงดนตรีประกอบ กราฟิก และแอนิเมชั่น ตามที่กาหนดไว้ในโครงร่างเนื้อหา • ขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production) คือ ขั้นตอนในการนาสื่อชนิดต่างๆ ที่ได้จากขั้นตอนการ ผลิตเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการตัดต่อ หรือจัดลาดับเนื้อหาวิดีโอตามโครงร่างเนื้อหา เพิ่มไตเติ้ล แอนิเมชั่น หรือกราฟิก จนเสร็จสิ้นแล้วจึงทาการแปลงสื่อวิดีโอให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ
15. การเตรียมภาพนิ่ง
16. การถ่ายภาพดิจิทัลคืออะไร? การถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Photography) คือ กระบวนการ ถ่ายภาพที่ไม่ใช้ฟิล์ม เป็นการใช้กล้องถ่ายภาพดิจิทัล ในการรับ และแปลงสัญญาณภาพ ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ที่จะถูกบันทึกใน สื่อเก็บข้อมูลของกล้อง ที่สามารถถ่ายโอน ปรับแต่ง และบันทึก ลงในสื่อบันทึกของเครื่องคอมพิวเตอร์ 16
17. กล้องถ่ายภาพระบบดิจิทัลคืออะไร? กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Camera) คือ กล้องถ่ายภาพ ที่ใช้สื่อเก็บข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ในการจัดเก็บภาพ โดยข้อมูลภาพที่ถูกจัดเก็บนั้นจะอยู่ ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล 17
18. ประเภทของกล้องถ่ายภาพดิจิทัล กล้องถ่ายภาพดิจิทัล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 18 1. กล้องถ่ายภาพแบบ Point and Shoot 3. กล้องถ่ายภาพแบบ Digital SLR 2. กล้องถ่ายภาพแบบ Digital SLR Like
19. Point and Shoot Digitial Camera (Consumer) เป็นกล้องที่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ การออกแบบของกล้องเป็นแบบเรียบง่าย น้้าหนักเบา ราคาถูก บางรุ่นอาจมี คุณสมบัติพิเศษ เช่น ระบบป้องกันการสั่น ไหว ช่องมองภาพ และจอ LCD แยกออก จากตัวกล้อง 19
20. Digital SLR Like Camera (Prosumer) 20 เป็นกล้องที่มีลักษณะผสมกันระหว่างกล้อง Compact และกล้อง SLR ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ ได้ แต่สามารถปรับแต่งค่าต่างๆ ได้มาก และ ละเอียดกว่ากล้อง Compact บางรุ่นมีโหมดการ ถ่ายภาพ และการปรับแต่งเหมือนกล้อง SLR เพียง แค่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้เท่านั้น
21. Digital SLR Camera (DSLR) 21 เป็นกล้องที่สามารถถอดเปลี่ยนเลนส์ได้ มีช่องมองภาพ ที่สามารถมองภาพผ่านเลนส์ได้ เหมือนกับภาพที่ตกกระทบบนอุปกรณ์รับแสง (Camera Sensor) ของกล้องถ่ายภาพ ใน ปัจจุบัน กล้องบางรุ่นมีระบบ Live View ที่ช่วย ให้สามารถมองภาพผ่านจอ LCD ที่ติดมากับ กล้องได้
22.Exposure Exposure หมายถึง ปริมาณแสงที่ฟิล์มหรือเซ็นเซอร์ได้รับ โดยจะมี ค่าเป็น EV (Exposure Value) ซึ่งปัจจัยในการก้าหนดปริมาณของ แสงมี 3 ปัจจัย คือ 1. ขนาดของรูรับแสง (Aperture) 2. ความเร็วของการเปิด/ปิดชัตเตอร์ (Shutter Speed) 3. ความไวแสงของเซ็นเซอร์รับภาพ (ISO)
23.Source - ALEXANDRA COPLEY, DIGITAL PHOTOGRAPHY FUNDAMENTALS The Exposure Triangle
24.ขนาดของรูรับแสง (Aperture) ความกว้างของม่านชัตเตอร์ ที่ท้าหน้าที่ในการควบคุมปริมาณแสงที่ส่อง ผ่านเลนส์ เข้าไปสู่ Image Sensor โดยขนาดความกว้างจะแทนค่าด้วย ตัวเลข ตัวเลขมาก/รูเล็ก ตัวเลขน้อย/รูกว้าง Source - Memorial University, Introduction to Digital Photography
25.ระยะเวลาในการเปิด/ปิดชัตเตอร์ (Shutter Speed) ระยะเวลาที่ม่านชัตเตอร์เปิดรับแสงเข้าสู่ Image Sensor เพื่อใช้ใน การบันทึกภาพ ซึ่งระยะเวลาในการเปิด/ปิดชัตเตอร์ ถูกใช้ในการ สร้างภาพในลักษณะต่อไปนี้ • เปิดและปิดในระยะเวลาสั้นๆ จะเป็นการหยุดการเคลื่อนไหว ของวัตถุที่ก้าลังเคลื่อนที่ • เปิดและปิดในระยะเวลานาน เป็นการสร้างความนุ่มนวล ต่อเนื่อง และใช้ในการบันทึกภาพในสภาวะแสงน้อย
26. ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง
27.ความไวแสงของเซ็นเซอร์รับภาพ (ISO) • ตัวเลขที่แทนค่าความไวแสงของฟิล์มหรือเซ็นเซอร์รับภาพ ตัวเลข ISO น้อย จะไวแสงน้อย ตัวเลข ISO มาก จะไวแสงมาก ISO มีค่าเป็น 50, 100, 200, 400, 800, 1600, 3200, 6400 • ค่า ISO มากจะไวแสงมาก ใช้ถ่ายในสภาวะแสงน้อยได้ดี แต่จะมี สัญญาณรบกวน (Noise) เกิดขึ้นในภาพ
28.ISO CANON-1D X CANON 5D Mark III
29. Depth of Field • Depth of Field (DOF) คือ ขอบเขตความชัดในภาพ อ้างอิงจากจุด โฟกัส ถ้าขอบเขตความชัดในภาพน้อย เรียกว่า “ชัดตื้น” ถ้าขอบเขต ความชัดในภาพมาก เรียกว่า “ชัดลึก” • Depth of Field เป็นสิ่งที่ช่างภาพใช้ในการควบคุม หรือก้าหนด ขอบเขตของจุดสนใจในภาพ
30.White Balance White Balance หรือที่หลายคนเรียกว่า “สมดุลแสงสีขาว” คือ คุณสมบัติ ของกล้องถ่ายภาพ ที่ใช้ในการปรับสมดุลของแสง หรือสภาพแสง ที่กล้อง ถ่ายภาพรับรู้ ให้มีสีที่ถูกต้อง ตรงกับสภาพแสงจริง ณ ขณะนั้น
31. White Balance Daylight Cloudy Tungsten
32. Image Quality
33. Custom Function เมนู Custom Functions หรือมีตัวย่อว่า C.Fn. เป็นเมนู ส้าหรับการปรับตั้งค่าต่างๆ ในการท้างานของกล้องให้เข้ากับ การใช้งานของผู้ใช้
34. • ONE SHOT - เป็นระบบที่ใช้ในการโฟกัสวัตถุที่อยู่นิ่งกับที่ • AI SERVO – เป็นระบบที่ใช้ในการโฟกัสวัตถุที่ก้าลังเคลื่อนที่ มี ระบบตรวจจับการเคลื่อนที่ • AI FOCUS – เป็นระบบที่ใช้ในการโฟกัสวัตถุที่หยุดนิ่ง และเริ่ม เคลื่อนที่ จะเป็นการเปลี่ยนจากระบบ ONE SHOT เป็น AI SERVO อัตโนมัติ ระบบการโฟกัส (Focus Setting)
35. • SINGLE SHOT – เป็นระบบที่จะท้าการถ่ายภาพเพียงครั้งเดียวเมื่อมี การกดปุ่มชัตเตอร์ 1 ครั้ง • CONTINUOUS SHOOTING – เป็นระบบที่จะท้าการถ่ายภาพเป็นชุด หลายๆ ภาพ เมื่อมีการกดปุ่มชัตเตอร์ค้าไว้ จ้านวนภาพจะขึ้นอยู่กับกล้อง แต่ละรุ่น ว่าสามารถถ่ายภาพเป็นชุดได้กี่ภาพต่อวินาที • SELF-TIMER – เป็นระบบการตั้งเวลาถ่ายภาพอัตโนมัติ ระบบการถ่ายภาพ (Drive Mode)
36. ระบบการวัดแสง คือ ระบบการเลือกพื้นที่ในภาพเพื่อน้ามาใช้ในการวัดแสง • EVALUATIVE METERING – เป็นระบบการวัดแสงที่จะเฉลี่ยจากพื้นที่ ของทั้งภาพ • CENTER-WEIGHTED AVERAGE METERING – เป็นระบบการวัดแสง ที่จะวัดจากพื้นที่กลางภาพ • SPOT METERING – เป็นระบบการวัดแสงที่จะวัดจากพื้นที่เล็กๆ ของ ภาพ ระบบการวัดแสง (Metering Mode)
37. EXPOSURE MODE คือ รูปแบบในการเลือกขนาดรูรับแสง และ ความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมในสภาพแสงต่างๆ กัน โดย EXPOSURE MODE มี 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ • Basic Modes - กล้องเป็นผู้เลือกขนาดรูรับแสงและความเร็ว ชัตเตอร์ • Creative Modes - ช่างภาพเป็นคนเลือกขนาดรูรับแสงหรือ ความเร็วชัตเตอร์ Exposure Mode
38. • PORTRAIT MODE เป็นโหมดที่กล้องจะเลือกรูรับแสงกว้างเพื่อให้ ฉากหลังหลุดโฟกัส • LANDSCAPE MODE เป็นโหมดที่กล้องจะเลือกรูรับแสงแคบเพื่อให้ มีพื้นที่ชัดในภาพมากขึ้น • CLOSE-UP MODE เป็นโหมดที่กล้องจะเลือกรูรับแสงแคบเพื่อให้มี พื้นที่ชัดในภาพมากขึ้น Basic Modes (1/2)
39. • NIGHT PORTRAIT MODE เป็นโหมดที่กล้องจะใช้ความเร็วชัตเตอร์สูง (เปิด/ปิดชัตเตอร์นาน) เพื่อเก็บรายละเอียดแสงของฉากหลังในสภาพแสง น้อย ในขณะที่ยิงแฟลชเพื่อเปิดรายละเอียดด้านหน้า • SPORTS MODE เป็นโหมดที่กล้องจะใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่้า (เปิด/ปิดชัต เตอร์เร็ว) เพื่อหยุดการเคลื่อนไหว • FLASH-OFF MODE เป็นโหมดที่กล้องจะไม่ใช้แฟลชในการถ่ายภาพ เช่น การถ่ายภาพแบบซิลูเวต Basic Modes (2/2)
40. PROGRAM MODE • กล้องจะก้าหนดค่ารูรับแสงและความเร็วชัตเตอร์ให้ โดยดูจากเลนส์ ที่ใช้ และสภาพแสง • ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนค่าได้ • เช่น ถ้าใช้ TELEPHOTO LENS กล้องจะเลือกใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ ต่้า เพื่อป้องกันการสั่นไหวของภาพ หรือ ถ้าใช้ WIDE ANGLE LENS กล้องจะเลือกขนาดรูรับแสงแคบๆ เพื่อให้ได้ภาพชัดลึก Creative Modes (1/4)
41. APERTURE PRIORITY MODE • ช่างภาพเป็นคนก้าหนดขนาดรูรับแสงที่ต้องการ • กล้องจะก้าหนดความเร็วชัตเตอร์ที่เหมาะสมให้ เพื่อให้ได้ปริมาณ แสงที่เพียงพอต่อการถ่ายภาพ (CORRECT EXPOSURE) Creative Modes (2/4)
42. SHUTTER PRIORITY MODE • ช่างภาพเป็นคนก้าหนดความเร็วชัตเตอร์ที่ต้องการ • กล้องจะก้าหนดขนาดรูรับแสงที่เหมาะสมให้ เพื่อให้ได้ปริมาณแสงที่ เพียงพอต่อการถ่ายภาพ (CORRECT EXPOSURE) Creative Modes (3/4)
43. MANUAL MODE • ช่างภาพเป็นคนก้าหนดขนาดรูรับแสง และความเร็วชัตเตอร์ที่ ต้องการ Creative Modes (4/4)
44. ระบบชดเชยการสั่นไหว เป็นคุณสมบัติของกล้องรุ่นใหม่ ที่มีความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาการเบลอของภาพ อันเนื่องมาจากการสั่นไหวเล็กน้อย ในขณะถ่ายภาพ ซึ่งระบบนี้จะมีประโยชน์มากต่อการถ่ายภาพใน สถานการณ์ที่มีแสงน้อย หรือการถ่ายภาพโดยใช้เลนส์เทเล ระบบชดเชยการสั่นไหว
45. ระบบชดเชยการสั่นไหวจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามแต่ละยี่ห้อของ กล้อง ดังต่อไปนี้ • Nikon – VR – Vibration Reduction • Canon – IS – Image Stabilization • Pentax – SR – Shake Reduction • Sony – SSS – Super Steady-Shot ระบบชดเชยการสั่นไหว (ต่อ)
46. การเตรียมสื่อวิดีโอ
47.ชนิดของกล้องถ่ายวิดีโอ • กล้องถ่ายวิดีโอระบบแอนาล็อก คือ กล้องวิดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพ และเสียงให้อยู่ใน รูปของสัญญาณแอนาล็อก (สัญญาณต่อเนื่อง) ลงในม้วนเทปรูปแบบต่างๆ เช่น VHS • กล้องถ่ายวิดีโอระบบดิจิทัล คือ กล้องวิดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพ และเสียงให้อยู่ในรูป ของสัญญาณดิจิทัล (0 และ 1) ลงในม้วนเทป หรือลงในฮาร์ดดิสก์
48.กล้องระบบ VHS และ S-VHS กล้องระบบ 8mm กล้องระบบ Hi8 กล้องถ่ายวิดีโอในระบบแอนาล็อก
49.กล้องระบบ Digital 8 กล้องระบบ MiniDV กล้องระบบ DVD กล้องระบบ High Definition กล้องถ่ายวิดีโอในระบบดิจิทัล
50.ส่วนประกอบของกล้องวิดีโอ (1/4) เลนส์ วงแหวน ปรับโฟกัส วงแหวนซูมภาพ ฟิลเตอร์ ปุ่มเลือก ระบบโฟกัส วงแหวน กาหนด ขนาดของ รูรับแสง ปุ่มฟังก์ชัน Back Light
51. แผงเมนูด้านหลัง ปุ่มกาหนด โหมดของกล้อง ปุ่มเริ่ม/หยุดการอัด ไมโครโฟน ช่องต่อ สัญญาณเสียง จากภายนอก ส่วนประกอบของกล้องวิดีโอ (2/4)
52.ช่องต่อ S-Video ช่องต่อ AV/RCA ช่องต่อ Firewire (IEEE 1394) ช่องใส่ตลับเทป ปุ่มเปิดช่อง ใส่ตลับเทป ปุ่มซูมภาพเข้า/ออก ส่วนประกอบของกล้องวิดีโอ (3/4)
53.ช่องมองภาพ (View Finder) LCD monitor แถมปุ่มควบคุม ในโหมด VCR ส่วนประกอบของกล้องวิดีโอ (4/4)
54.Shot, Scene, Sequence Shot: ช่วงของการถ่ายวิดีโอนับตั้งแต่เริ่มกดปุ่ม Start เพื่อเริ่มบันทึก จนกระทั่งกดปุ่ม Stop เพื่อ หยุดการบันทึก Scene: ชุดของ shot ที่มีจุดสนใจ, เวลา, และสถานที่เดียวกัน Sequence: ชุดของ Scene ที่แสดงถึงหนึ่งแนวคิด เหมือนกับการแบ่งย่อหน้าในการเขียน
55. ชนิดของมุมมองภาพ (Type of camera shot) 1. ระยะ (Distance) Extreme long shot, Very long shot, Long shot, Medium long shot, Medium shot, Medium close up, Close up shot, Big close up 2. มุมกล้อง (Angle) Eye level angle, High angle, Low angle 3. มุมมองภาพ (Point of view) Objective shot, Subjective shot 4. การเคลื่อนที่กล้อง (Camera physical movement) Panning, Tilting, Dolling, Trucking 5. การเปลี่ยนลักษณะภาพ (Camera apparent movement) Zooming, Focusing
56. มุมมองภาพแบ่งตามระยะ (DISTANCE)
57.Extreme Long Shot (ELS, XLS) เป็นช็อตระยะไกลที่จะแสดงให้ เห็นภาพรวมของทั้งภาพ บอกผู้ดูว่าบุคคลหลักของภาพนั้นอยู่ที่ ไหน มีขนาดและมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมในภาพอย่างไร Extreme long shot
58.Very Long Shot (VLS) เป็นช็อตที่บุคคลหลักในภาพ จะมี ขนาดประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสูงของภาพ ซึ่งภาพใน ลักษณะนี้ จะแสดงทั้งสภาพแวดล้อม และรายละเอียดของ บุคคลคนนั้นมากขึ้น Very long shot
59.Long Shot (LS) หรือ Full Shot เป็นช็อตที่จะแสดงให้เห็นรายละเอียด ของบุคคลหลักของภาพมากขึ้นกว่า Very Long Shot โดยจะแสดงรูปร่าง ทั้งหมดของบุคคลคนนั้น และจะต้องมีพื้นที่ว่างเหนือและใต้บุคคลนั้นด้วย Long shot
60.Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เป็น ช็อตที่จะมีขนาดของ บุคคลหลักเป็น 3/4 ส่วนของขนาดจริง ซึ่งจะเป็นการถ่ายภาพตัดจากใต้หัวเข่า ของบุคคล ไปจนถึงศรีษะโดยจะต้องมีช่องว่างเหนือศรีษะของคนๆ นั้นด้วย Medium long shot
61.Medium Shot (MS) เป็นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ใต้เอวของบุคคล หลักของภาพนั้น ขึ้นไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้องมีพื้นที่ว่าง เหนือศรีษะของบุคคลนั้นเช่นเดิม Medium shot
62.Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เป็นช็อตที่ถ่าย ตั้งแต่ใต้รักแร้ของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึ้นไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้องมีพื้นที่ว่างเหนือศรีษะเช่นเดิม Medium close up shot
63.Close Up (CU) เป็นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่บริเวณใต้ลาคอ หรือถ้า เป็นผู้ชายก็คือใต้ปมเนคไทของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึ้นไป จนถึงศรีษะ Close up shot
64. Big Close Up (BCU) เป็นช็อตที่ถ่ายบริเวณบางส่วนของ ใบหน้าของบุคคลหลักในภาพ ส่วนใหญ่จะเริ่มตั้งแต่บริเวณกลาง หน้าผากลงมาจนถึงเหนือคาง Big close up shot
65. มุมมองภาพแบ่งตามมุมกล้อง (ANGLE)
66.ความสูงระดับสายตา (Eye level angle) เป็นการวางระดับ ความสูงของกล้องในระดับสายตาของบุคคลที่เป็นจุดสนใจ ภาพที่ได้จะเป็นธรรมชาติ เหมือนจริง Eye level angle
67.ความสูงระดับเหนือศรีษะ (High angle) เป็นการวางระดับความสูงของกล้อง ในระดับเหนือศรีษะของบุคคลที่เป็นจุดสนใจ ภาพที่ได้จะแตกต่างจากภาพ จริง คือ จะมีศรีษะใหญ่กว่าเท้า ตัวสั้น ดูอ่อนแอ ไม่มีพลัง High angle
68.ความสูงระดับต่ากว่าศรีษะ (Low angle) เป็นการวางระดับความสูงของกล้อง ในระดับต่ากว่าศรีษะของบุคคลที่สนใจ หรือถ่ายย้อนขึ้นไปทางด้านบน ภาพที่ ได้ จะไม่เป็นธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมีพลังมากขึ้น Low angle
69. มุมมองภาพแบ่งตามมุมมองภาพ (POINT OF VIEW)
70.มุมมองของบุคคลที่สาม (Objective Shot) เป็นมุมกล้องของ การมองจากบุคคลภายนอกไปยังบุคคลหลักในภาพ Objective shot
71.มุมมองของบุคคลเป้าหมาย (Subjective shot) เป็นมุมกล้อง ของการมองจากบุคคลเป้าหมายในภาพ เป็นการบอกกับผู้ดูว่า คนๆ นั้นกาลังมองอะไรอยู่ Subjective shot
72. การเคลื่อนที่กล้อง (CAMERA PHYSICAL MOVEMENT)
73. Panning การแพน (Panning) คือ การเคลื่อนที่กล้องในขณะที่ถ่ายในแนวระดับ (ซ้าย-ขวา)
74.Tilting การทิล (Tilting) คือ การเคลื่อนที่กล้องในขณะที่ถ่ายในแนวดิ่ง (ขึ้น-ลง)
75.Dolling การใช้ดอลลี่ (Dolling) คือ การเคลื่อนที่กล้องเข้า-ออกจากเป้าหมาย
76. Trucking การใช้เลื่อน (Trucking) คือ การเคลื่อนที่กล้องขนานไปพร้อมๆ กับการเคลื่อนที่ของเป้าหมาย
77. การเปลี่ยนลักษณะภาพ (CAMERA APPARENT MOVEMENT)
78. Zooming การซูม (Zooming) คือ การเปลี่ยนขนาดของภาพโดยการใช้ปุ่ม หรือวงแหวนซูม (Zoom in/Zoom out button/ring) Zoom in Zoom out
79. Focusing การเปลี่ยนตาแหน่งของการโฟกัส (Focusing) คือ การเปลี่ยนจุดโฟกัสโดยใช้วงแหวนปรับ โฟกัสระหว่างจุดสนใจสองจุดในภาพ ซึ่งจะทาให้เกิดการเปลี่ยนระยะชัดจากวัตถุที่อยู่ใกล้ ไปยังวัตถุที่อยู่ไกล (Throwing focus) หรือเปลี่ยนระยะชัดจากวัตถุที่อยู่ไกลมายังวัตถุที่อยู่ ใกล้กว่า (Pulling focus)
80. การจัดองค์ประกอบภาพ (PHOTO / VIDEO COMPOSITION)
81.การจัดองค์ประกอบภาพ (Framing/Composition) คือ เทคนิคในการจัดวางจุดสนใจ (Subject) และส่วนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อให้ภาพนั้นน่าสนใจ และสามารถสื่อ ความหมายตามที่ผู้ถ่ายภาพต้องการ นอกจากนั้น การจัดองค์ประกอบภาพยังหมาย รวมถึง การเลือกมุมมองภาพ (Point of View) ที่เหมาะสม การจัดองค์ประกอบภาพ
82.ในภาพจะต้องมีจุดสนใจหลักอยู่ 1 จุดเสมอ - อาจจะมีจุดสนใจอื่นประกอบอยู่ แต่จะต้อง ไม่เด่นไปกว่าจุดสนใจหลัก กฎข้อที่ 1 กาหนดจุดสนใจหลักในภาพ
83.กฎข้อที่ 2 หลีกเลี่ยงการวางตาแหน่งของจุดสนใจหลักไว้กลางภาพ • ถ้าจุดสนใจอยู่กลางภาพจะทาให้รู้สึกนิ่ง ไม่ น่าสนใจ • ใช้กฎสามส่วน (Rule of Third) ช่วยใน การกาหนดตาแหน่งในการวางจุดสนใจ
84.หลังจากที่กาหนดจุดสนใจใน ภาพแล้วให้เดินรอบๆ จุดสนใจ นั้น เพื่อหามุมมองที่น่าสนใจ สาหรับการถ่ายวิดีโอ กฎข้อที่ 3 เลือกมุมกล้องที่เหมาะสม
85.การถ่ายภาพแบบ Close-up จะทาให้ เกิดความรู้สึกใกล้ชิด เหมือนกับว่าผู้ดู อยู่ในเหตุการณ์ขณะนั้น เป็นการเน้น จุดสนใจ และขจัดส่วนอื่นๆ ที่ไม่ ต้องการออกจากภาพ กฎข้อที่ 4: ถ่ายภาพ Close Up เพื่อเน้นจุดสนใจ
86.ใช้องค์ประกอบที่มีลักษณะเป็นเส้น ทั้งเส้นตรง และเส้นโค้ง เช่น ถนน ลาของแสงแดด ช่วยนา สายตาผู้ชมไปที่จุดสนใจ ทาให้เราสามารถเน้น จุดสนใจของภาพได้ กฎข้อที่ 5 ใช้เส้นนาสายตาเพื่อดึงความสนใจ
87. พยายามหลีกเลี่ยงการถ่ายภาพที่มี พื้นหลังที่มีลักษณะยุ่งเหยิงซับซ้อน มีลวดลายเยอะจนเป็นการรบกวนจุด สนใจ ซึ่งการหลีกเลี่ยงสามารถทาได้ โดยการเปลี่ยนมุมกล้อง หรือการใช้ เทคนิคการควบคุมความชัดลึก (Depth of Field) ของภาพ กฎข้อที่ 6: หลีกเลี่ยงฉากหลังที่ยุ่งเหยิง
88.ใช้องค์ประกอบแวดล้อม เช่น กรอบประตู, หน้าต่าง, ต้นไม้ หรือกิ่งไม้ ในการสร้างกรอบ ภาพธรรมชาติ เพื่อกาหนดกรอบการมอง ไปยังจุดสนใจในภาพ และสร้างมิติให้เกิด ความลึกในภาพ กฎข้อที่ 7: ใช้เฟรมกาหนดกรอบความสนใจและสร้างความลึกของภาพ
89.ในการถ่ายภาพที่มีการเคลื่อนไหว เช่น รถวิ่ง, ภาพกีฬา จะต้องจับ จังหวะที่เหมาะสมของภาพการ เคลื่อนที่นั้นๆ กฎข้อที่ 8: ถ่ายภาพเคลื่อนไหวในจังหวะที่เหมาะสม
90. การเตรียมสื่อเสียง
91. บทสนทนา (Dialog) เป็นองค์ประกอบเสียงที่สาคัญ ที่เป็นการบอกเล่าเรื่องราว และเนื้อหา ส่วนมากจะบันทึกสดในขณะถ่ายทา เพราะจะสื่ออารมณ์ได้ดีกว่าการ นามาพากย์ใหม่ • เสียงบรรยากาศ (Ambience) คือ เสียงบรรยากาศในฉากต่างๆ เช่น เสียงรถวิ่ง เสียงในป่า เสียงน้าไหล ที่บันทึกสดในขณะถ่ายทา • เสียงประกอบที่สร้างขึ้น (Sound Effect) คือ เสียงที่เพิ่มเข้าไป เพื่อเพิ่มความ สมจริง หรือเสริมอารมณ์ความรู้สึก เช่น เสียงเปิดประตู เสียงปืน • ดนตรีประกอบ (Music) คือ เสียงเพลงหรือเสียงดนตรีประกอบ ที่ช่วยสร้างอารมณ์ ประเภทของเสียงในงานวิดีโอ
92.ไมโครโฟน (Microphone) • หูฟัง (Headphone Headset, Earphone) • เครื่องผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) • เครื่องขยายเสียง (Amplifier) • ตู้ลาโพง (Loudspeaker) • สายสัญญาณและหัวเชื่อมต่อสาย (Cable and Connector) • อุปกรณ์เสริมอื่นๆ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในระบบเสียง
93. การเตรียมสื่อชนิดอื่นๆ
94.การสร้างภาพสามมิติด้วยกล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิทัล
95. ข้อจากัดของภาพนิ่งดิจิทัล 95 HIGHLIGHT SHADOW
96. การถ่ายภาพนิ่งรายละเอียดสูง 96 ปกติ มืดกว่าปกติ สว่างกว่าปกติ ภาพรายละเอียดสูง
97. ภาพปกติ ภาพปกติ VS ภาพรายละเอียดสูง ภาพรายละเอียดสูง
99. High Dynamic Range Panorama Normal Panorama HDR Panorama
100. เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง (High Resolution Imaging)
101. เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง (High Resolution Imaging)
102.จำนวนภำพ : 343 ภำพ Focal length : 324 mm Speed : 1/80 Aperture : F22 ระยะเวลำถ่ำยภำพ : 19 นำที เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง (High Resolution Imaging)
103.เทคโนโลยีการถ่ายภาพความละเอียดสูง (High Resolution Imaging)
104. TIME-LAPSE PHOTOGRAPHY (USE DIGITAL IMAGES TO CREATE VIDEO)
105. การถ่ายภาพแบบ TIME-LAPSE คืออะไร การถ่ายภาพแบบ Time-lapse คือ เทคนิคในการผลิตสื่อวิดีโอจากภาพนิ่ง โดย การบันทึกภาพนิ่งแต่ละเฟรม ในอัตราที่น้อยกว่าสื่อวิดีโอปกติ หรือมีการบีบเวลา ซึ่งถือเป็นหัวใจสาคัญของวิดีโอชนิดนี้ ทาให้วิดีโอที่ผลิตโดยใช้เทคนิค Time-Lapse จะมีลักษณะเหมือนภาพยนต์ที่มีการเพิ่มความเร็ว หรือมีการย่อเวลาในขณะที่เล่น 105
106. อุปกรณ์และซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ 1. กล้องถ่ายภาพและเลนส์ 2. แบตเตอรี่ที่รองรับการถ่ายภาพได้นานๆ Baterry Grip หรือสายต่อกล้องกับปลั๊กไฟ หรือ ต่อกับแบตเตอรี่สารอง 3. Memory Card ที่มีพื้นที่พอสาหรับการบันทึกภาพจานวนมาก 4. ขาตั้งกล้อง 5. ระบบการตั้งเวลาถ่ายภาพต่อเนื่อง • ตั้งค่าในกล้อง • สายลั่นชัตเตอร์ที่มีฟังค์ชั่นTime Interval • สั่งผ่านคอมพิวเตอร์ 6. Image Processing Software: Lightroom, Photomatix Pro 106
107. SUBJECT แบบไหนถึงจะเหมาะกับการถ่ายภาพแบบ TIME-LAPSE Subject ที่เหมาะกับการถ่ายภาพแบบ Time-Lapse คือ Subject ที่จะต้องมีการ เปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาที่ทาการถ่ายภาพ • เปลี่ยนทิศทาง • เปลี่ยนขนาด • เปลี่ยนรูปทรง • เปลี่ยนสี 107
108. การคานวณจานวนภาพในการถ่ายภาพแบบ TIME-LAPSE Interval Time = ระยะเวลาในการตั้งกล้องถ่าย / ความยาวของวิดีโอ Time-Lapse เช่น - ระยะเวลาในการตั้งกล้องถ่ายจริง 3 ชั่วโมง (3 ชั่วโมง x 60 นาที x 60 วินาที = 10800 วินาที) - ความยาวของวิดีโอ Time-Lapse 30 วินาที - Interval Time = 10,800 วินาที / 30 วินาที = 360 วินาที = 360 วินาที / 60 วินาที = 6 นาที 108
109. การตั้งค่าสาหรับการถ่ายภาพ - ชนิดของไฟล์: Small to Medium jpg - Camera Mode: Manual Mode or Aperture Priority Mode - Aperture: F8 ขึ้นไป - ISO: 100 - 200 - Focus Mode: Manual Focus - ปิด Image Stabilization Feature - ตั้งค่า Interval Timing 109
110. TIME-LAPSE PHOTOGRAPHY WORKFLOW 110 ถ่ายภาพแบบตั้งเวลา อัตโนมัติ ปรับแต่งภาพ รวมภาพเป็น Time- lapse Video
ที่มา: http://www.slideshare.net/rachabodin/basic-digital-video-production
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น